พันธะเคมี (Chemical Bond) หมายถึง แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม 2 อะตอม หรือ
ไอออนเข้าไว้ด้วยกันเป็นโมเลกุลหรือเป็นกลุ่มของอะตอม ทั้งนี้ แรงยึดเหนี่ยวจะขึ้นอยู่กับ
อิเล็กตรอนวงนอกของอะตอม (Valence Electron) เท่านั้น
ไอออนเข้าไว้ด้วยกันเป็นโมเลกุลหรือเป็นกลุ่มของอะตอม ทั้งนี้ แรงยึดเหนี่ยวจะขึ้นอยู่กับ
อิเล็กตรอนวงนอกของอะตอม (Valence Electron) เท่านั้น
พันธะไอออนิก
พันธะไอออนิก (Ionic bond) คือ พันธะเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอม 2 อะตอม โดย
อะตอมหนึ่งจะเป็นตัวให้อิเล็กตรอน ส่วนอีกอะตอมหนึ่งจะเป็นตัวรับอิเล็กตรอน เพื่อให้อะตอม
แต่ละตัวมีจำนวนอิเล็กตรอนวงนอกสุดครบ 8 ทำให้พบว่าอะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนมาจะมีประจุ
ไฟฟ้าเป็นไอออนลบ อะตอมที่ให้หรือเสียอิเล็กตรอนไปจะมีประจุไฟฟ้าเป็นไอออนบวก และ
โมเลกุลที่เกิดขึ้นจากพันธะไอออนิกนี้เราจะเรียกว่า สารประกอบไอออนิก (Ionic compound)
พันธะไอออนิก (Ionic bond) คือ พันธะเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอม 2 อะตอม โดย
อะตอมหนึ่งจะเป็นตัวให้อิเล็กตรอน ส่วนอีกอะตอมหนึ่งจะเป็นตัวรับอิเล็กตรอน เพื่อให้อะตอม
แต่ละตัวมีจำนวนอิเล็กตรอนวงนอกสุดครบ 8 ทำให้พบว่าอะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนมาจะมีประจุ
ไฟฟ้าเป็นไอออนลบ อะตอมที่ให้หรือเสียอิเล็กตรอนไปจะมีประจุไฟฟ้าเป็นไอออนบวก และ
โมเลกุลที่เกิดขึ้นจากพันธะไอออนิกนี้เราจะเรียกว่า สารประกอบไอออนิก (Ionic compound)
พันธะโคเวเลนต์
(Covalent Bond) เป็นพันธะที่พบมากที่สุดในโมเลกุลของสารประกอบ
ทั่วไป เกิดจากการสร้างแรงยึดเหนี่ยวกันระหว่างอะตอม 2 อะตอม โดยอะตอมทั้งสองมีความ
ต้องการที่จะดึงอิเล็กตรอนไว้กับตัวเพื่อให้มีจำนวนอิเกตรอนวงนอกสุดครบ 8 ตัว เหมือนแก๊สเฉื่อย
หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นการใช้อิเล็กตรอนวงนอกสุดร่วมกันของแต่ละอะตอมในโมเลกุล ซึ่งพันธะ
โคเวเลนต์นี้มักเกิดระหว่างอโลหะด้วยกันเอง ซึ่งแต่ละอะตอมก็ต้องการรับอิเล็กตรอนด้วยกันทั้งคู่...อ่านเพิ่ม
ทั่วไป เกิดจากการสร้างแรงยึดเหนี่ยวกันระหว่างอะตอม 2 อะตอม โดยอะตอมทั้งสองมีความ
ต้องการที่จะดึงอิเล็กตรอนไว้กับตัวเพื่อให้มีจำนวนอิเกตรอนวงนอกสุดครบ 8 ตัว เหมือนแก๊สเฉื่อย
หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นการใช้อิเล็กตรอนวงนอกสุดร่วมกันของแต่ละอะตอมในโมเลกุล ซึ่งพันธะ
โคเวเลนต์นี้มักเกิดระหว่างอโลหะด้วยกันเอง ซึ่งแต่ละอะตอมก็ต้องการรับอิเล็กตรอนด้วยกันทั้งคู่...อ่านเพิ่ม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น